เมื่อเข้าสู่มหาลัย เราก็จะนึกถึงค่าใช้จ่ายหลักๆ ซึ่งก็มีค่าใช้จ่ายที่สูงเช่นเดียวกัน แต่อย่างไรก็ดีเมื่อเราจะต้องเข้ามหาลัยเพื่อจะให้ดีเราก็ต้องเตรียมเงินให้พร้อม ปกติแล้วเมื่อเรา เตรียมค่าใช้จ่ายแล้วนี้ก็ไม่ได้มาจากเราอยู่แล้วส่วนใหญ่ก็ พ่อแม่ที่ให้เงินเราให้เรียนต่อที่มหาลัย แต่บางทีเราก็อาจจะหาเงินเองส่งตัวเองเรียนบ้าง ตัวเองอยากเรียนแต่ฐานะที่บ้านเราไม่ได้ร่ำรวยอะไร ถ้าเราอยากเรียนเราก็ต้องขยันที่จะหาเงินด้วย ดังนั้นให้เรามาดูว่ามีค่าใช้จ่ายอะไรบ้างที่เราจะต้อง จ่ายเมื่อเราเข้าสู่มหาลัยและมีค่าใช้จ่ายอะไรบ้างที่เราไม่จำเป็นจะต้องเสียเงินกับสิ่งนั้นด้วยให้เราไปดูด้วยกันดังต่อไปนี้ 
# มีค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?

มีค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?

มีอยู่ทั้งหมด 7 ค่าใช้จ่ายที่เราจะต้องจ่ายเมื่อเข้าสู่มหาลัย เมื่อเราโตและเข้าสู่มหาลัยก็จะต้องมีค่าใช้จ่ายต่างๆและก็ไม่น้อยเลยทีเดียวเพราะไม่โตขึ้นความรับผิดชอบในเรื่องค่าใช้จ่ายก็ต้องเพิ่มขึ้นเขาอาจจะรู้สึกว่ามีหลายอย่างที่เราต้องเตรียมและวุ่นวายไปหมดแต่ในเมื่อเราเลือกแบบนี้ไปเรื่องจะเรียนมหาลัยเราก็ต้องมีความรับผิดชอบในเรื่องนี้บางทีก็ไม่อาจจะช่วยหรือบางทีเราอาจจะส่งตัวเองเรียน ดังนั้น ให้เรามาเตรียมตัวให้พร้อมสำหรับการเข้ามหาลัยว่าต้องมีค่าใช้จ่ายอะไรบ้างให้เราดูด้วยกัน ดังต่อไปนี้

1. ค่าเทอม/ค่าหน่วยกิต

เราทุกคนก็ต้องทราบกันอยู่แล้วว่าจะต้องมีค่าเทอมและค่าหน่วยกิต เราทุกคนก็ต้องเจอเพราะว่าจะมีการแบ่งค่าใช้จ่ายอัตราค่าเล่าเรียน เป็น 2 อย่าง อย่างแรกก็คือจ่ายค่าหน่วยกิต หรือสาขาวิชาต่างๆ ในมหาลัย ส่วนแบบที่ 2 นั้น ก็จะเป็นแบบเหมาจ่ายซึ่งจะมีการจ่ายค่าเล่าเรียนแบบเหมาจ่ายต่อภาคก็คือหลักสูตรปริญญาตรีนักศึกษาสูตรปกติก็จะสามารถ เหมาจ่ายได้นั่นเอง และให้เรามาดูว่า

หลักสูตรปริญญาตรีจะต้องจ่ายเท่าไหร่ แบบที่ 1 คือนักศึกษาหลักสูตรปกติจะจ่ายเหมาภาคเรียนละ 32,000 บาท และ แบบที่ 2 คือ นักศึกษาหลักสูตรนานาชาติ ซึ่งเหมาจ่ายภาคเรียนละ 70,000 บาท

ที่นี้ให้มาดูว่าหลักสูตรปริญญาโทมีค่าใช้จ่ายภาคเรียนละเท่าไหร่ หลักสูตรปริญญาโทนั้นสามารถเหมาจ่ายภาคเรียนละ 45,000 บาท และสูตรนานาชาติจะจ่ายเหมาภาคเรียน ละ 70,000 บาท และถ้าเป็นหลักสูตรปริญญาเอกก็สามารถเหมาจ่ายภาคเรียนละ 87,000บาทนั่นเอง

2. ค่าชุดนิสิต/นักศึกษา

เมื่อเราโตเข้าสู่มหาวิทยาลัย เครื่องแต่งกายต่างๆก็ต้องเปลี่ยนออกไป และการแต่งกายที่เราใส่ไปเรียนนั้น จะต้องต่างจากเดิมที่เราเคยซื้อ ตอนเราอยู่มัธยมแต่พอเราโตขึ้นเราก็ต้องเปลี่ยน ซึ่งก็จะมีทั้งเสื้อ กระโปรงกางเกง รองเท้า เข็มขัด หัวเข็มขัดและเข็มติดเสื้อ สำหรับผู้ชายก็จะต้องซื้อเนคไทใหม่ ซึ่ง เราก็จะต้องมีการเตรียมตัวอย่างดีโดยเฉพาะเรื่องเงินที่เราควรพร้อมกับค่าชุดต่างๆ นี่ก็รวมไปถึงวิชาที่ต้องเรียนเกี่ยวกับพลศึกษาและชุดกิจกรรมต่างๆเราก็ควรจะเตรียมเงินในส่วนนี้ด้วยเช่นกันเป็นเรื่องดีที่เราควรเตรียมก่อนเพราะว่าจะทำให้เราพร้อมเรียนและไม่มีปัญหาทีหลังนั่นเอง

3. ค่ากิจกรรม

เมื่อเราเข้ามหาวิทยาลัยเริ่มแรกเราก็จะต้องเจอกับกิจกรรมต่างๆเยอะแยะมากมาย เช่น งานรับน้อง กีฬาสี กิจกรรม ที่จัดขึ้นในสาขาวิชาซึ่งก็จะต้องออกเงิน ในบางส่วนด้วยนั้นเราควรที่จะพบเงินเอาไว้ตอนที่มีกิจกรรมด้วยหรือเมื่อเขาบอกว่าให้เราเตรียมเงินเราก็ควรเตรียมเงินส่วนหนึ่งไว้สำหรับกิจกรรมเหล่านี้ และบางทีอาจจะมีการเดินทางออกค่ายหรือไปทำกิจกรรมต่างๆซึ่งก็ต้องมีเงินเอาไว้ส่วนหนึ่งและบางทีในกลุ่มอาจจะต้องหาเงินนั้นกันเอาเอง แต่ค่ากิจกรรมต่างๆอย่างนี้หรือการออกไปทำกิจกรรมก็ขึ้นอยู่กับชมรมต่างๆที่มีวิธีการแตกต่างออกไป

4. ค่าหนังสือและ อุปกรณ์การเรียน

เมื่อพูดถึงหนังสือนั้นจะมีทั้งแบบรวมค่าเทอมอยู่แล้วและก็ต้องจ่ายด้วยต่างหากเช่นในบาง มหาวิทยาลัยจะรวมอยู่กับค่าเทอมรวมทุกอย่างทั้งหนังสือและเอกสารแต่บางทีอาจจะมีเอกสารประกอบการเรียนเพิ่มเติมเราก็ต้องออกค่าใช้จ่ายนี้ต่างหากด้วย ค่าอุปกรณ์การเรียนส่วนใหญ่มักจะอยู่กับสาขาวิชาและคณะที่เราเลือก เช่นเมื่ออยู่สถาปัตยกรรมศาสตรก็จะ มีการซื้ออุปกรณ์วาดภาพเช่นสี กระดาษ กระดาน และการถ่ายภาพหรือภาพยนตร์ ซึ่งจะต้องมีกล้องวีดีโอส่วนตัวที่จะต้องทำงานส่งอาจารย์

5. ค่าหอพัก

เมื่อเราออกไปมหาลัยที่ห่างไกลจากบ้านเราก็ต้องอยู่หอพักซึ่งจะต้องมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมเช่นค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าบำรุงรักษา ก็ต้องมีเงินกันไว้เพื่อจ่ายสิ่งนี้ และเราไม่ควรที่จะลืมเขานอนค่าใช้จ่ายของเราด้วยที่เราย้ายไปอยู่หอและต้องเลือกดูว่าแบบไหนคุ้มแบบไหนดีจะทำให้เราประหยัดได้มากขึ้นนั่นเอง

6. ค่าเดินทาง

ค่าเดินทางที่เราจะต้องคิดอยู่แล้วว่ามีแน่นอนสำหรับค่าใช้จ่ายในการเดินทางนี้เพราะส่วนใหญ่เขาก็จะ เดินทางมามหาลัยโดยรถประจำทางหรือรถสาธารณะ และบางครั้งเราอาจจะนั่งหลายๆต่อด้วยเราก็จะต้องคำนวณว่าเมื่อเราไปหารายนั้นเราต่อรถไปขี่ต่อและจะต้องมีค่าใช้จ่ายเท่าไหร่ แต่ถ้าเกิดว่าเรามีรถส่วนตัวที่จะขับมาเองในมหาลัยเราก็ต้องมีเงินเหมือนกันที่จะจ่ายค่าน้ำมันดังนั้นเราต้องกักเงินส่วนนี้ไว้

7. ค่าอาหาร

สำคัญอีกอย่างที่เราจะต้องใช้ทุกๆวันก็คือค่าอาหารแต่ละมื้อ ละแต่ละคนซึ่งใช้ไม่เท่ากันเราทุกคนควรจะคำนวณให้พอใช้ในแต่ละเดือนและถ้าประหยัดได้ก็ประหยัดดีกว่า เราซื้อของกินเท่าที่เรากินก็พอถ้าเราซื้อเผื่อก็เป็นการใช้ฟุ่มเฟือยด้วยดังนั้นให้คำนึงถึงเรื่องนี้อย่างดี และอะไรที่ไม่จำเป็นเราก็ไม่ควรซื้อเราก็จะซื้อสิ่งที่จำเป็นมากกว่าที่ใช้ในการเรียน

ดังนั้น เราจะเห็นว่าสำคัญมากจริงๆที่เราจะต้องมีเงินสำหรับค่าใช้จ่ายต่างๆเมื่อเข้ามหาวิทยาลัยแต่บางทีเราก็ควรประหยัดด้วยอะไรที่ควรประหยัดก็ประหยัดเพราะเราจะเห็นว่าค่าใช้จ่ายนั้นมีมากจริงๆเมื่อเข้ามหาลัยยิ่งถ้าเราไม่ได้อยู่กับพ่อแม่แล้วเราออกไปอยู่หอกับเพื่อนๆเราก็จะต้องยิ่งมีเงินมากขึ้นกว่าแต่ก่อน ดังนั้น ให้เรามาดูว่ามีอะไรบ้างที่เราสามารถประหยัดได้และไม่จำเป็นจะต้องเสียเงินไปกับสิ่งเหล่านี้ อ่านต่อกันเลย!!

วิธีลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น

วิธีลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น

มีอยู่ทั้งหมด 6 อย่างที่ช่วยเราให้ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นได้ ซึ่งช่วยเราให้ประหยัดและสามารถที่จะมีเงินเก็บได้ด้วยนั่นเอง ให้เราอยู่ด้วยกันดังต่อไปนี้  ให้เราด้วยการดังต่อไปนี้

1.หนังสือเรียน

แต่ละสาขาวิชาเราก็จะต้องมีหนังสือมากกว่า 1 เล่มอยู่แล้วอย่างเช่น วรรณกรรมบางทีเราอาจจะต้องซื้อนิยายและหนังสือจำนวนมากด้วยนี่ก็ขึ้นอยู่กับที่มหาวิทยาลัย ด้วยซึ่งก็แตกต่างกันไป และแต่ละหลักสูตรก็จะมีราคาแพงกว่าหรือถูกกว่าด้วยดังนั้นเมื่อเราเป็นนักศึกษาที่มหาวิทยาลัยถ้าเราไม่มีหนังสือเรียนเราก็ไม่สามารถเข้าเรียนและทำงานส่งอาจารย์ได้ดังนั้นเราก็หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะซื้อนั่นเอง ไม่ได้บอกว่าเราจะไม่ได้ซื้อหนังสือแต่เรามีวิธีช่วยได้ซึ่งก็คือสามารถซื้อหนังสือมือสอง และหนังสือของรุ่นพี่ที่พวกเขาเคยซื้อไปและเรียนจบแล้วเราก็สามารถไปขอซื้อต่อได้วิธีนี้ช่วยเราประหยัดได้อย่างมาก เป็นวิธีหนึ่งก็คือเราจะต้องยืมหนังสือจากห้องสมุดและก็จะต้องมีการจำกัดเวลาในการยืมดังนั้นเราก็ไม่สามารถที่จะยืมไปตลอดการศึกษาได้ แต่ถ้าจนมุมจริงๆเราก็จะต้องซื้อหนังสือเล่มใหม่และสามารถนำไปขายต่อภายหลังก็ได้

2.อุปกรณ์การเรียน

เมื่อเราพูดถึงอุปกรณ์การเรียนนั้น มันก็จะมีหลายๆอย่างแล้วแต่หลักสูตรคณะ ที่เราเลือก เช่นการออกแบบการจัดเลี้ยง ชื่อสาขาวิชาที่เน้นการปฏิบัติเป็นส่วนใหญ่ก็จะเสียเงินค่าใช้จ่ายซื้ออุปกรณ์ต่างๆในการเรียน กุ้งก็มีค่าใช้จ่ายมากมายเช่นเดียวกันเรื่องอุปกรณ์ดังนั้นเราสามารถสอบถามกับมหาวิทยาลัยได้และสถาบันจะมีแชทบนเว็บไซต์ให้นักศึกษาสอบถามข้อมูลได้อย่างสะดวกสบาย หรือเราสามารถไปขอความช่วยเหลือจากบล็อกนักศึกษาได้พรุ่งนี้เราค่อยลดค่าอุปกรณ์การเรียนได้เช่นกัน

3.การปริ๊นเลกเชอร์

การปริ้นแลคเชอร์ก็จะต้องประกอบการเรียนอยู่ในรูปแบบไฟล์ PowerPoint ก็จะอยู่ในคอมพิวเตอร์เป็นส่วนใหญ่เราสามารถที่จะไปเปิดไฟล์และปริ้นที่ห้องคอมพิวเตอร์ของมหาลัยเราก็จะไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการปริ้นด้วยอย่างนั้นเราสามารถร่วมพิธีนี้ได้ที่เราจะประหยัดมากขึ้น และอีกอย่างหนึ่งก็คือเราอาจจะบันทึกไว้นั้นและนำไปปริ้นจากปริ้นเตอร์ของเราเอง ถ้าเรามีเครื่องปริ้นเป็นของตัวเองก็จะช่วยได้มากให้เรามาปริ้นที่เครื่องปริ้นของตัวเอง ซึ่งเราจะต้องส่งงานที่มีเอกสารแบบนี้มากมายอยู่แล้วแล้วแต่สาขาที่เราเลือกว่าเป็นสาขาวิชาแบบไหนที่ต้องใช้เอกสารมากหรือไม่แต่ถึงอย่างไรถ้าเรามีเครื่องปริ้นเป็นของตัวเองก็จะลดค่าใช้จ่ายได้มากทีเดียว

4.ทัศนศึกษา

เมื่อพูดถึงทัศนศึกษาเราคงจะนึกถึงสถานที่ที่สนุกสนาน และถ้าเรารู้สึกสนุกกับมันมากก็เป็นเรื่องปกติแต่บางทีเราอาจจะเผลอไปว่าค่าใช้จ่ายต่างๆที่เราไปเที่ยวนั้นทำให้เราจ่ายไปโดยไม่รู้ตัวเพราะเราก็สนุกกับทัศนศึกษา จริงๆค่าใช้จ่ายก็ขึ้นอยู่กับมหาวิทยาลัยบางครั้งอาจจะจ่ายก็ไม่ต้องจ่ายก็ได้แต่ถ้าเมื่อเราไปทัศนศึกษาก็จะมีการไปเที่ยวและซื้อของบ้างเราอาจจะต้องคิดคำนวณว่าการไปทัศนศึกษาเราจะต้องใช้เงินเท่าไหร่และซื้อสิ่งจำเป็นเมื่อเราไปเท่านั้น สามารถซื้อสิ่งอื่นๆได้แต่เราก็จะกักเกินส่วนนั้นไว้ และไม่ ใช้เกินที่เรากำหนดไว้ก็จะช่วยให้เราประหยัดได้มากเลย

5.คอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์ในมหาลัยก็มีอยู่แล้วซึ่งอำนวยความสะดวกด้วยทั้งอินเทอร์เน็ตและซอฟต์แวร์  ทำให้นักศึกษาและเราก็สามารถใช้งานได้เลย จริงๆเราจะสะดวกกว่าถ้าหากว่าเรามีคอมพิวเตอร์เป็นของตัวเองแล้วเราก็สามารถทำงานที่คอมพิวเตอร์ของเราก็ได้โดยที่เราไม่ต้องไปมหาลัยแต่ถ้าหากเราไม่มีเราก็สามารถไปมหาลัยทำงานในคอมพิวเตอร์นั้น แต่อาจจะมีผู้ใช้งานจำนวนมากเราก็ต้อง คิดเรื่องนี้ด้วยเช่นเดียวกันว่าเราควรจะทำอย่างไร

6.ค่าใช้จ่ายในการฝึกงาน

การฝึกงานจริงๆแล้วไม่ได้จำเป็นที่สุดแต่บางครั้งก็เป็นข้อกำหนดว่าถ้าเราจะจบหลักสูตรเราก็ต้องฝึกงานจริงๆเพราะบางครั้งก็จะมีค่าใช้จ่ายแต่บางครั้งก็ไม่มีค่าใช้จ่ายขึ้นอยู่กับบริษัทที่เราไปฝึกงานสิ่งที่เราต้องคิดถึงคือค่าใช้จ่ายในการเดินทางรวมทั้งค่าฝึกงานอาหาร เพราะบางทีบริษัทที่เราไปทำงานนั้น อยู่ไกลจากหอพักของเราดังนั้นการคำนวณเรื่องนี้อย่างดี

การเตรียมค่าใช่จ่ายก่อนเข้ามหาลัย

การเตรียมค่าใช่จ่ายก่อนเข้ามหาลัย

การเตรียมค่าใช้จ่ายนั้นอย่างที่เราได้อ่านไปเราต้องเตรียมสิ่งเหล่านี้ให้พร้อมไม่ว่าจะเป็นค่าเสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย อุปกรณ์การเรียน ค่าเทอม ค่าหน่วยกิตและอื่นๆซึ่งเราจะต้องจัดการให้เรียบร้อย สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่จำเป็นจะต้องจ่ายอยู่แล้วและเราสามารถประหยัดได้อย่างที่ เราได้อ่านกันไปแล้วก็จะช่วยให้เราประหยัดมากขึ้นนั่นเอง